หน้าเว็บ

15th Anniversary

ปันรักเพื่อผูเป่วยโรคมะเร็ง ณ มูลนิธิบ้านปันรัก


        จากสถิติของสำนักนโยบายเเบะยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ปี พ.ศ. 2553 ระบุว่า โรคมะเร็งขึ้นชาร์ตอันดับหนึ่งของสาเหตุการตายของประชากรไทย
        โดยจำนวนประชากรที่สำรวจ 411,331 คน พบว่า มีผู้เสียชีวิตด้วยโรคมะเร็งสูงถึง 58,076 คน เพิ่มขึ้นจาก4ปีที่เเล้วกว่า 6,014 คน
         เเละเมื่อต้องเหนสภาพความทุกข์ยากของเพื่อนผู้ปวยโลกมะเร็งบางคนที่ต้องเดินทางมากกว่า 4 ชัวโมง ระยะมางมากกว่า 300 กิโลเมตร เพื่อมารักษา มูลนิธิบ้านปันรักเพื่อผู้ป่วยโรคมะเร็ง จึงถือกำเกิดขึ้นมาในปี พ.ศ. 2555
          เเต่การเดิรทางของมูลนิธิมาตลอดหนึ่งปีนั้นไม่ใช่เรื่องง่ายเลย ปักษ์นี้ ชีวจอต ได้มีมีโอกาสคุยเเบบเปิดอกคุย คุณอ้อย ดอกเตอร์พัชพร สกุลพงศ์ อายุ 56 ปี เลขานุการมูลนิธิบ้านปันรัก เพื่อให้รู้จักกับมูลนิธินี้มากขึ้น

        จากผู้ปวยสู่ผู้ให้

        จุดเริ่มต้นของการทำงานกับมูลนิธิมาจากคุณอ้อยก็เองเปนผู้ป่วยโลกมะเร็งเช่น โดยเธอป่วยเป็ฯมะเร็งไทรรอยด์เเละต่อมน้ำเหลื่องตั้งเเต่ม.ปลายเดื่อนธันวาคม พ.ศ.2542
         ย้อนกลับไปเมื่อ 11ปีที่เเล้ว ชีวจิตเคยได้มีโอกาสบันทึกเรื่องราวการต่อสู้โรคร้ายของเธอ ในคอลัมน์ สู้ชีวจิต ฉบับที่ 99-102 จากที่เคยเปนอาจารย์พยาบาลที่วิทยาลัยบาล บรมราชชนนี ชลบุรี มาวันนี้บทบาทของเธอได้เปลียนไป
         ปัจจุบันคุณอ้อยเป็นผู้เชี่ยวชาญประจำสำนักงานหลักประกันสุขภาพเเห่งชาติ เขต11 สุราษฎร์ธานี โดยระหว่างที่รักษษตัวเธอได้มีโอกาสพบปะพูดคุยกับคนมากมายที่ต่างก็ป่วยเป็นมะเร็งเหมื่อเธอจนทำให้เกิดความรู้สึกเห็นอกเหนใจเพื่อนที่ป่วยเหมื่อนกัน
         คนป่วยเป็นโรคมะเร็ง นอกจากทุกข์เพราะความทรมานจากโรคที่เจบป่วยเเล้ว ความทึกข์อีกอย่างที่พวกเขาต้องเเบกรับอย่างสาหัส คือ เรื่องค่าใช่จ่ายที่ไม่ใช่น้อยๆเลย ทุกครั้งที่ต้องมารับยาเคมีบำบัดหรื่อการมาพบหมอตามนัดจึงเปนเรื่องใหญ่มากสำหรับพวกเขา
         นอกจากนี้ยังมีค่าอาหาร ที่พัก พาหนะ เเละค่าใช่จ่ายจอปาถะ บางคนถึงขนาดต้องอาศัยนอนวัดในระหว่างเข้าคอร์สรับยา เราเหนสภาพผู้ป่วยอนาถาหลายคนก็รู็สึกสงสารเเละอยากช่วยเหลือให้พวกเขามีสภาพดีขึ้นเท่าที่จะทำได้
          เเละนี้คือเเรงผลักดันสำคัญที่ทำให้คุณอ้อยต่อสู้เพื่อความทุกข์ยากของเพื่อนมนุษย์ ถึงเเม้ว่าร่างกายของเธอเองจะไม่เเข็งเเรงนักก็ตาม
     
                        จากนิตยสารชีวจิตปีที่ 15:1กันยายน 2556 ฉบับที่ 358 หน้า74

2 ความคิดเห็น: